ทรัพยากรน้ำ
คำนำ “น้ำ” ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึงสารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนในอัตราส่วน 1:8 โดยน้ำหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีกลิ่น รส มีประโยชน์มากเช่น ใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก สำหรับในทางวิทยาศาสตร์แล้ว น้ำถือว่าเป็นสารมาตรฐานที่สามารถอยู่ได้ใน 3สถานภาพ คือของแข็ง (น้ำแข็ง) ของเหลว (น้ำ) และก๊าช(ไอน้ำ) ส่วนความหมายของน้ำทางสิ่งแวดล้อมนั้น หมายถึงทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่ง ที่มีการเกิดทดแทนหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงได้ตามวัฏจักรและมีความเกี่ยวข้องพันกับทรัพยากรอื่นๆมาก
ในอดีตเรามีทรัพยากรน้ำอย่างเหลือเฟือ การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนหรือชุมชนขนาดเล็กขนาดใหญ่ไปจนถึงรัฐ ส่วนใหญ่ล้วนแต่ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ดังจะเห็นได้จากอารยธรรมของชุมชน ในอดีตที่อยู่ในลุ่มน้ำที่สำคัญของโลก อาทิอารยธรรมอียิปต์ในลุ่มน้ำไนล์ (ราวอายุ 6,000 ปี) อารยธรรมจีนในลุ่มน้ำฮวงโหและแยงซีเกียง (อายุราว 6,000ปี) อารยธรรมอินเดียในลุ่มน้ำสินธุ ( อายุราว 5,000ปี)
ในปัจจุบันชุมชนที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและมีประชากรหนาแน่นไม่ว่าจะเป็นชุนชนลุ่มน้ำเจ้าพระยาในไทย ลุ่มน้ำโขงในเอเชีย ลุ่มน้ำอเมซอนในอเมริกาใต้ ลุ่มน้ำคงคาในอินเดีย ลุ่มน้ำไรน์และในยุโรป ก็ยังอยู่ในลุ่มน้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ แม้ว่าน้ำจะเป็นปัจจัยสำคัญในด้านการเพาะปลูก อุตสาหกรรมและการคมนาคม แต่การใช้น้ำก็เป็นไปอย่างไม่ค่อยเห็นคุณค่า ทุกคนถือว่าน้ำมีไม่รู้จักหมดสิ้นมีให้ใช้ตลอดกาล และเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่ากิจกรรทั้งหลายที่กระทำในอดีตไม่ว่าการระบายน้ำจากแหล่งชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตร และสถานที่อีกหลายแห่งทำให้เกิดการเน่าเสียของน้ำแหล่งน้ำ จนมีปัญหาว่าแหล่งน้ำหลายแห่งไมสามารถสำน้ำมาใช้ประโยชน์ได้ และแหล่งน้ำนั้นทำหน้าที่รองรับน้ำที่ระบายลงมาจากอาคารบ้านเรือนเท่านั้น หากเป็นดังนี้ทุกสายน้ำและทุกบริเวณจะมีผลอย่างไรกับผู้ใช้น้ำทุกครั้ง ผลพวงของการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างขาดการวางแผน ขาดการควบคุมที่ถูกต้อง การทำลายแหล่งน้ำ การตัดไม้ทำลายป่า ล้วนเป็นสาเหตุที่เกิดวิฤตการณ์ทางน้ำ และเป็นที่คาดหมายถึงว่า หากปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรมแล้ว
4.2 วัฎจักรของน้ำ (Water cycle หรือ Hydro;ogic cycle)
น้ำเป็นสารประกบชนนิดหนึ่งเดียวในโลกที่ปรากฏตามธรรมชาติพร้อมกันทั้งสถานะ คือ
ของเหลว ของแข็ง และก๊าช พร้อมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงสถานะได้ตลอดเวลาธรรมชาติช่วยกระจายน้ำให้บริเวณต่างๆ บนแผ่นดินด้วยระบบขนส่งทางไอน้ำในอากาศแล้วกลับคืนหมุนเวียนเป็นวงจรที่เรียกว่า “วัฏจักรของน้ำ หรืออุทกวัฏจักร” อันหมายถึงการสับเปลี่ยนหมุนเวียนสถานะของนั้น
วัฏจักรนี้เริ่มจาก น้ำจากแหล่งน้ำจืด ทะเล และมหาสมุคทร ซึ่งมีเนื้อที่อยู่สามในสี่พื้นโลก การหาใจของพืช น้ำจากขบวนการขับถ่ายของสัตว์จะระเหยกลายเป็นไอน้ำขึ้นไปในบรรยากาศ เนื่องจากได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ไอน้ำที่ระเหยขึ้นสู่บรรยากาศนี้ เมือลอยขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็นในที่สูงก็จะกลั่นตัวเป็นละอองน้ำเล็กๆ เมื่อละอองน้ำเล็ก มารวมตัวกันเข้าก็จะกลายเป็นเมฆ และถ้าสถาพแวดล้อมเหมาะสมก็จะเกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำขนาดใหญ่จนบรรยากาศรับน้ำหนักไว้ไม่ได้ ก็ตกลงมาเป็นฝน
คำนำ “น้ำ” ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึงสารประกอบซึ่งมีองค์ประกอบเป็นธาตุไฮโดรเจนในอัตราส่วน 1:8 โดยน้ำหนัก เมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีกลิ่น รส มีประโยชน์มากเช่น ใช้ดื่ม ชำระล้างสิ่งสกปรก สำหรับในทางวิทยาศาสตร์แล้ว น้ำถือว่าเป็นสารมาตรฐานที่สามารถอยู่ได้ใน 3สถานภาพ คือของแข็ง (น้ำแข็ง) ของเหลว (น้ำ) และก๊าช(ไอน้ำ) ส่วนความหมายของน้ำทางสิ่งแวดล้อมนั้น หมายถึงทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่ง ที่มีการเกิดทดแทนหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงได้ตามวัฏจักรและมีความเกี่ยวข้องพันกับทรัพยากรอื่นๆมาก
ในอดีตเรามีทรัพยากรน้ำอย่างเหลือเฟือ การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนหรือชุมชนขนาดเล็กขนาดใหญ่ไปจนถึงรัฐ ส่วนใหญ่ล้วนแต่ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ดังจะเห็นได้จากอารยธรรมของชุมชน ในอดีตที่อยู่ในลุ่มน้ำที่สำคัญของโลก อาทิอารยธรรมอียิปต์ในลุ่มน้ำไนล์ (ราวอายุ 6,000 ปี) อารยธรรมจีนในลุ่มน้ำฮวงโหและแยงซีเกียง (อายุราว 6,000ปี) อารยธรรมอินเดียในลุ่มน้ำสินธุ ( อายุราว 5,000ปี)
ในปัจจุบันชุมชนที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและมีประชากรหนาแน่นไม่ว่าจะเป็นชุนชนลุ่มน้ำเจ้าพระยาในไทย ลุ่มน้ำโขงในเอเชีย ลุ่มน้ำอเมซอนในอเมริกาใต้ ลุ่มน้ำคงคาในอินเดีย ลุ่มน้ำไรน์และในยุโรป ก็ยังอยู่ในลุ่มน้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์ แม้ว่าน้ำจะเป็นปัจจัยสำคัญในด้านการเพาะปลูก อุตสาหกรรมและการคมนาคม แต่การใช้น้ำก็เป็นไปอย่างไม่ค่อยเห็นคุณค่า ทุกคนถือว่าน้ำมีไม่รู้จักหมดสิ้นมีให้ใช้ตลอดกาล และเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่ากิจกรรทั้งหลายที่กระทำในอดีตไม่ว่าการระบายน้ำจากแหล่งชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตร และสถานที่อีกหลายแห่งทำให้เกิดการเน่าเสียของน้ำแหล่งน้ำ จนมีปัญหาว่าแหล่งน้ำหลายแห่งไมสามารถสำน้ำมาใช้ประโยชน์ได้ และแหล่งน้ำนั้นทำหน้าที่รองรับน้ำที่ระบายลงมาจากอาคารบ้านเรือนเท่านั้น หากเป็นดังนี้ทุกสายน้ำและทุกบริเวณจะมีผลอย่างไรกับผู้ใช้น้ำทุกครั้ง ผลพวงของการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างขาดการวางแผน ขาดการควบคุมที่ถูกต้อง การทำลายแหล่งน้ำ การตัดไม้ทำลายป่า ล้วนเป็นสาเหตุที่เกิดวิฤตการณ์ทางน้ำ และเป็นที่คาดหมายถึงว่า หากปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรมแล้ว
4.2 วัฎจักรของน้ำ (Water cycle หรือ Hydro;ogic cycle)
น้ำเป็นสารประกบชนนิดหนึ่งเดียวในโลกที่ปรากฏตามธรรมชาติพร้อมกันทั้งสถานะ คือ
ของเหลว ของแข็ง และก๊าช พร้อมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงสถานะได้ตลอดเวลาธรรมชาติช่วยกระจายน้ำให้บริเวณต่างๆ บนแผ่นดินด้วยระบบขนส่งทางไอน้ำในอากาศแล้วกลับคืนหมุนเวียนเป็นวงจรที่เรียกว่า “วัฏจักรของน้ำ หรืออุทกวัฏจักร” อันหมายถึงการสับเปลี่ยนหมุนเวียนสถานะของนั้น
วัฏจักรนี้เริ่มจาก น้ำจากแหล่งน้ำจืด ทะเล และมหาสมุคทร ซึ่งมีเนื้อที่อยู่สามในสี่พื้นโลก การหาใจของพืช น้ำจากขบวนการขับถ่ายของสัตว์จะระเหยกลายเป็นไอน้ำขึ้นไปในบรรยากาศ เนื่องจากได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ไอน้ำที่ระเหยขึ้นสู่บรรยากาศนี้ เมือลอยขึ้นไปกระทบกับอากาศเย็นในที่สูงก็จะกลั่นตัวเป็นละอองน้ำเล็กๆ เมื่อละอองน้ำเล็ก มารวมตัวกันเข้าก็จะกลายเป็นเมฆ และถ้าสถาพแวดล้อมเหมาะสมก็จะเกิดการควบแน่นเป็นหยดน้ำขนาดใหญ่จนบรรยากาศรับน้ำหนักไว้ไม่ได้ ก็ตกลงมาเป็นฝน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น